เซะ
หน้าตา
ฮิรางานะ |
คาตากานะ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การถอดอักษร | se | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ดากูเต็ง | ze | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของฮิรางานะ |
世 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของคาตากานะ |
世 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสเรียกขาน | 世界のセ (เซะไก โนะ เซะ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสมอร์ส | ・---・ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรเบรลล์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ยูนิโคด | U+305B, U+30BB | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
เซะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า せ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 世 และคะตะกะนะเขียนว่า セ มีที่มาจากส่วนซ้ายของมันโยงะนะ 世 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า
せ เป็นอักษรลำดับที่ 14 อยู่ระหว่าง す (ซุ) กับ そ (โซะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ せ เป็นอักษรลำดับที่ 46 อยู่ระหว่าง も (โมะ) กับ す (ซุ)
รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ธรรมดา | se | せ | セ | เซะ | ธรรมดา +ดะกุเต็ง |
ze | ぜ | ゼ | เซะ |
sei sē |
せい, せぃ せえ, せぇ せー, せ~ |
セイ, セィ セエ, セェ セー, セ~ |
เซ | zei zē |
ぜい, ぜぃ ぜえ, ぜぇ ぜー, ぜ~ |
ゼイ, ゼィ ゼエ, ゼェ ゼー, ゼ~ |
เซ |
อักษรแบบอื่น
[แก้]ภาษาไอนุใช้คะตะกะนะแบบเติมฮันดะกุเต็ง セ゚ สำหรับใช้แทนเสียง [t͡se] ซึ่งสามารถเขียนด้วย チェ แทนก็ได้
อักขระ | ยูนิโคด | จิส เอกซ์ 0213[1] | ความหมาย |
---|---|---|---|
せ | U+305B | 1-4-27 | ฮิระงะนะ เซะ (se) |
ぜ | U+305C | 1-4-28 | ฮิระงะนะ เซะ (ze) |
セ | U+30BB | 1-5-27 | คะตะกะนะ เซะ (se) |
ゼ | U+30BC | 1-5-28 | คะตะกะนะ เซะ (ze) |
セ゚ | U+30BB U+309A | 1-5-92 | คะตะกะนะ เสะ (tse) |
㋝ | U+32DD | 1-12-72 | คะตะกะนะ เซะ (se) ในวงกลม |
セ | U+FF7E | ไม่มี | คะตะกะนะ เซะ (se) ครึ่งความกว้าง |
ลำดับขีด
[แก้]ฮิระงะนะ せ มีลำดับขีด 3 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นนอนจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกึ่งบน
- ขีดเส้นตั้งตัดกับเส้นแรก ในตำแหน่งค่อนไปทางขวา เมื่อถึงตำแหน่งกลางให้ตวัดขึ้นไปทางซ้าย
- ขีดเส้นตั้งตัดกับเส้นแรก ในตำแหน่งค่อนไปทางซ้าย เมื่อถึงตำแหน่งล่างให้โค้งเล็กน้อยแล้วขีดไปทางขวา
คะตะกะนะ セ มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกึ่งบน เมื่อถึงปลายให้ขีดเฉียงลงทางซ้ายเล็กน้อย
- ขีดเส้นตั้งตัดกับเส้นแรก ในตำแหน่งค่อนไปทางซ้าย เมื่อถึงตำแหน่งล่างให้โค้งเล็กน้อยแล้วขีดไปทางขวา
คันจิ
[แก้]ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าเซะ และขึ้นต้นด้วยเซะ มีดังนี้
- 世 瀬 畝 是 凄 制 勢 姓 征 性 成 政 整 星 晴 棲 栖 正 清 牲
- 生 盛 精 聖 声 製 西 誠 誓 請 逝 醒 青 静 斉 税 脆 隻 席 惜
- 戚 斥 昔 析 石 積 籍 績 脊 責 赤 跡 蹟 碩 切 拙 接 摂 折 設
- 窃 節 説 雪 絶 舌 蝉 仙 先 千 占 宣 専 尖 川 戦 扇 撰 栓 栴
- 泉 浅 洗 染 潜 煎 煽 旋 穿 箭 線 繊 羨 腺 舛 船 薦 詮 賎 践
อ้างอิง
[แก้]- ↑ JIS拡張漢字(JIS X 0213:2004)(全コード表) (ญี่ปุ่น)