[go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

รูแบ

พิกัด: 50°41′24″N 3°10′54″E / 50.6901°N 3.18167°E / 50.6901; 3.18167
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รูแบ

Robaais
ศาลากลาง
ศาลากลาง
ตราราชการของรูแบ
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
Probitas et Industria
ประเทศฝรั่งเศส
แคว้นโอดฟร็องส์
จังหวัดนอร์
เขตลีล
อำเภอรูแบ-1 และรูแบ-2
สหเทศบาลMétropole Européenne de Lille
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรี (2020–2026) กีโยม เดล์บาร์[1]
พื้นที่113.23 ตร.กม. (5.11 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (มกราคม ค.ศ. 2018)2
98,089 คน
 • ความหนาแน่น7,400 คน/ตร.กม. (19,000 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
รหัสอีนเซ/ไปรษณีย์59512 /59100
สูงจากระดับน้ำทะเล17–52 m (56–171 ft)
(avg. 35 m หรือ 115 ft)
เว็บไซต์www.ville-roubaix.fr (ในภาษาฝรั่งเศส)
1 ข้อมูลอาณาเขตที่ตามขึ้นทะเบียนไว้โดยไม่รวมทะเลสาบ, หนองน้ำ, ธารน้ำแข็งที่ขนาดใหญ่กว่า 1 ตารางกิโลเมตรตลอดจนปากแม่น้ำ 2 Population without double counting: residents of multiple communes (e.g., students and military personnel) only counted once.

รูแบ (ฝรั่งเศส: Roubaix, ออกเสียง: [ʁubɛ]; ดัตช์: Robaais; เฟลมิช: Roboais) เป็นนครทางตอนเหนือของฝรั่งฌศส ในเขตปริมณฑลลีลบนชายแดนเบลเยียม ในอดีตเคยเป็นเทศบาลอุตสาหกรรมเชิงเดี่ยว[2]ในจังหวัดนอร์[3]ที่เติบโตจากอุตสาหกรรมสิ่งทออย่างรวดเร็วในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยมีคุณลักษณะส่วนใหญ่เหมือนกับบูมทาวน์ของอังกฤษและอเมริกัน[4][5] อดีตเมืองใหม่นี้เผชิญหน้ากับความท้าทายหลายอย่างที่มีส่วนเชื่อมโยงกับการทำให้อุตสาหกรรมหดเล็กลง (deindustrialisation) เช่น การสลายตัวของเมือง[6] โดยมีผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับทางเศรษฐกิจและสังคม เนื่องจากอุตสาหกรรมหลักของประเทศตกต่ำลงในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1970 รูแบตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของลีล ติดกับ Tourcoing เมืองนี้เป็นเมืองหลักที่เป็นศูนย์กลางของสองอำเภอ และเป็นนครที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ในแคว้นโอดฟร็องส์ โดยมีประชากรเกือบ 99,000 คน[7]

รูแบเป็นเมืองที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Répertoire national des élus: les maires". data.gouv.fr, Plateforme ouverte des données publiques françaises (ภาษาฝรั่งเศส). 2 December 2020.
  2. Pooley, Timothy (December 30, 1996). Chtimi: The Urban Vernaculars of Northern France. Applications in French Linguistics Series. Clevedon, UK: Multilingual Matters Ltd. pp. 15–44. ISBN 978-1-853-59345-1. สืบค้นเมื่อ 2015-07-01.
  3. INSEE commune file
  4. Lecigne, Constantin (1911). Amédée Prouvost (ภาษาฝรั่งเศส). Paris, F: Bernard Grasset. p. 71. OCLC 679906866. สืบค้นเมื่อ 2016-03-17. Roubaix donne l'impression d'une enclave américaine dans la France du Nord. C'est en même temps la ville de l'énergie frénétique et des fuites à travers le monde.
  5. Strikwerda, Carl (1984). Sweets, John F. (บ.ก.). "Regionalism and Internationalism: The Working-Class Movement in the Nord and the Belgian Connection, 1871–1914". Proceedings of the ... Annual Meeting of the Western Society for French History. 1983/1984. Lawrence (Kansas), USA: The University of Kansas: 222. hdl:2027/mdp.39015012965524. ISSN 0099-0329. Contemporaries never tired of calling Roubaix an "American city," because of its raw, fast-growing character, or of referring to Roubaix and its sister cities of Lille and Tourcoing as the "French Manchester."
  6. Clark, Peter (January 29, 2009). European Cities and Towns: 400–2000. Oxford, UK: Oxford University Press. p. 246. ISBN 978-0-199-56273-2. สืบค้นเมื่อ 2015-10-01. Roubaix was another new town, originally a craft village, whose many textile mills attracted a population of 100,000 and generated massive social and environmental problems.
  7. Téléchargement du fichier d'ensemble des populations légales en 2019, INSEE

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]