[go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

กลีเซอ 581 จี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Gliese 581 g
ดาวเคราะห์นอกระบบ รายชื่อ
ดาวฤกษ์แม่
ดาวฤกษ์ Gliese 581
กลุ่มดาว Libra
ไรต์แอสเซนชัน (α) 15h 19m 26s
เดคลิเนชัน (δ) −07° 43′ 20″
ความส่องสว่างปรากฏ (mV) 10.55
ระยะห่าง20.3 ± 0.3 ly
(6.2 ± 0.1 pc)
ชนิดสเปกตรัม M3V
มวล (m) 0.31 M
รัศมี (r) 0.29 R
อุณหภูมิ (T) 3480 ± 48 K
ความเป็นโลหะ [Fe/H] −0.33 ± 0.12
อายุ 7 – 11 พันล้านปี
องค์ประกอบวงโคจร
ต้นยุคอ้างอิง JD 2451409.762[1]
กึ่งแกนเอก(a) 0.14601 ± 0.00014[1] AU
ความเยื้องศูนย์กลาง (e) 0[1]
คาบการโคจร(P)36.562 ± 0.052[1] d
(0.100 y)
มุมกวาดเฉลี่ย (M) 271 ± 48[1]°
ครึ่งแอมพลิจูด (K) 1.29 ± 0.19[1] m/s
ลักษณะทางกายภาพ
มวลอย่างต่ำ(m sin i)3.1 ± 0.4[1] M
ข้อมูลการค้นพบ
ค้นพบเมื่อ September 29, 2010
ค้นพบโดย Steven S. Vogt et al.
วิธีตรวจจับ Radial Velocity
สถานที่ที่ค้นพบ Keck Observatory, Hawaii
สถานะการค้นพบ Unconfirmed
อ้างอิงกับฐานข้อมูลอื่น
สารานุกรม
ดาวเคราะห์นอกระบบ
ข้อมูล
ซิมแบดข้อมูล

กลีเซอ 581 จี (อังกฤษ: Gliese 581 g) หรือ Gl 581 g เป็นดาวเคราะห์นอกระบบโคจรรอบดาวแคระแดง กลีเซอ 581 อยู่ห่างจากโลก 20.5 ปีแสง ในกลุ่มดาวคันชั่ง มันเป็นดาวเคราะห์ดวงที่หกที่ถูกค้นพบในระบบดาวเคราะห์กลีเซอ 581 และเป็นดาวบริวารลำดับที่สี่นับจากกลีเซอ 581 ดาวเคราะห์ดังกล่าวค้นพบโดยลิก-คาร์เนกีเอ็กโซแพลเน็ตเซอร์เวย์หลังจากมีการสำรวจมานับทศวรรษ ดาวเคราะห์ดังกล่าวอยู่ในเขตอาศัยได้จากดาวฤกษ์ ที่ซึ่งมีความเป็นไปได้สูงว่าจะมีน้ำในสภาพของเหลว

การค้นพบกลีเซอ 581 จี ได้รับการประกาศเมื่อปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 และเชื่อกันว่าเป็นดาวเคราะห์คล้ายโลกที่สุดและเป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่มีศักยภาพที่จะพบสิ่งมีชีวิตได้ การค้นพบกลีเซอ 581 จี ในระยะเวลาอันสั้นและด้วยระยะห่างจากโลกที่ค่อนข้างน้อยทำให้นักดาราศาสตร์เชื่อว่าสัดส่วนของดาวฤกษ์ต่อดาวเคราะห์ที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ได้มีมากกว่า 10%[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 Vogt, Steven S.; Butler, R. Paul; Rivera, Eugenio J.; Haghighipour, Nader; Henry, Gregory W.; Williamson, Michael H. (September 29, 2010). "The Lick-Carnegie Exoplanet Survey: A 3.1 M_Earth Planet in the Habitable Zone of the Nearby M3V Star Gliese 581". The Astrophysical Journal. 723 (1): 954–965. arXiv:1009.5733. Bibcode:2010ApJ...723..954V. doi:10.1088/0004-637X/723/1/954. S2CID 3163906.