[go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

การทัพฟิลิปปินส์ (ค.ศ. 1944–1945)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การทัพฟิลิปปินส์ (ค.ศ. 1944-45)
ส่วนหนึ่งของ เขตสงครามทะเลแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง

นายพลดักลาส แมกอาเธอร์, ประธานาธิบดีโอสเมญญา, และเหล่าทหารต่างลุยขึ้นฝั่งที่ปาโล, เกาะเลเตย์ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1944.
วันที่20 ตุลาคม ค.ศ. 1944. – 2 กันยายน ค.ศ. 1945
สถานที่
ผล ฝ่ายสัมพันธมิตรชะ
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
คู่สงคราม

 สหรัฐ

 ออสเตรเลีย (การสนับสนุนทางอากาศและทางเรือ)
 เม็กซิโก (การสนับสนุนทางอากาศ)

 ญี่ปุ่น

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

ดักลาส แมกอาเธอร์
เครือรัฐฟิลิปปินส์ เซร์ฮิโอ โอสเมญญา


สหรัฐ เชสเตอร์ ดับเบิลยู. นิมิตซ์
สหรัฐ วอลเตอร์ ครูเกอร์
สหรัฐ โรเบิร์ต อเชลเบอร์เกอร์
สหรัฐ วิลเลียม ฮอลซี จูเนียร์
สหรัฐ โทมัส ซี. คินเคด
สหรัฐ จอร์จ เคนนีย์
ฟิลิปปินส์ บาซิลิโอ เจ. วาลเดส

โทโมยูกิ ยามาชิตะ
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่สอง โฮเซ เป. เลาเรล


จักรวรรดิญี่ปุ่น Akira Mutō
จักรวรรดิญี่ปุ่น Shigenori Kuroda
จักรวรรดิญี่ปุ่น Sōsaku Suzuki 
จักรวรรดิญี่ปุ่น โซเอมุ โทโยดะ
จักรวรรดิญี่ปุ่น ทาเกโอะ คูริตะ
จักรวรรดิญี่ปุ่น จิซะบุโร โอะซะวะ
จักรวรรดิญี่ปุ่น Sanji Iwabuchi 
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

สหรัฐ Sixth Army

I Corps
XIV Corps
X Corps
XXIV Corps
Sixth Army Reserves

สหรัฐ Eighth Army

XI Corps

แม่แบบ:Country data Commonwealth of the Philippines Resistance and Irregular Forces

สหรัฐ Fifth Air Force

Naval elements:

สหรัฐ Third Fleet
สหรัฐ Seventh Fleet
ออสเตรเลีย Task Force 74

จักรวรรดิญี่ปุ่น Fourteenth Area Army units include:

จักรวรรดิญี่ปุ่น 35th Army
จักรวรรดิญี่ปุ่น 41st Army
จักรวรรดิญี่ปุ่น Fourth Air Army
แม่แบบ:Country data Second Philippine Republic

Naval elements:

จักรวรรดิญี่ปุ่น กองเรือผสม
กำลัง
สหรัฐ 1,250,000
แม่แบบ:Country data Commonwealth of the Philippines 260,715 (1945)[2]
จักรวรรดิญี่ปุ่น 529,802[3]
แม่แบบ:Country data Second Philippine Republic approx. 36,000[4][5]
ความสูญเสีย

สหรัฐ American

Manpower:

  • Army: 16,043 dead and missing,
    55,531 wounded[nb 1]
  • Navy: 7,270+ dead and wounded[nb 2]
  • Tens of thousands hospitalized due to disease[11]

3 Mexican air men dead in combat (79 Mexican guerillas dead) Total: 79,104+ dead and wounded

Material:

33+ ships sunk
95+ ships damaged
485+ aircraft[9][12]

แม่แบบ:Country data Commonwealth of the Philippines Filipino

Unknown, but high[13]

จักรวรรดิญี่ปุ่น Japanese

Manpower: 419,912 dead, missing or holding out[14] and 10,000 casualties in Leyte Gulf.[15]
(80% from starvation or disease)[16]

Material:

93+ ships sunk
1,300 aircraft[9][12]

การทัพฟิลิปปินส์, ยุทธการที่ฟิลิปปินส์ หรือการปลดปล่อยฟิลิปปินส์(Filipino: Kampanya sa Pilipinas, Labanan sa Pilipinas & Liberasyon ng Pilipinas), (ปฏิบัติการทหารเสือที่ 1, 2, และ 3) (Filipino: Operasyon Mosketero I, II, at III), เป็นการทัพของสหรัฐและฟิลิปปินส์เพื่อที่จะเอาชนะและขับไล่กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นที่ยึดครองฟิลิปปินส์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพบกญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองฟิลิปปินส์เอาไว้ทั้งหมดในช่วงครึ่งแรกของปี ค.ศ. 1942 การปลดปลดปล่อยฟิลิปปินส์ได้เริ่มต้นขึ้นด้วยการยกพลขึ้นบกที่เกาะเลเตย์ ทางด้านตะวันออกของฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1944 กองทัพสหรัฐและเครือจักรภพ ฟิลิปปินส์ได้มีความคืบหน้าในการปลดปล่อนดินแดนและเกาะต่างๆ เมื่อกองทัพญี่ปุ่นในฟิลิปปินส์ได้รับคำสั่งให้ยอมจำนนจากกรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ภายหลังจากการทิ้งระเบิดปรมาณูบนแผ่นดินใหญ่ของญี่ปุ่นและโซเวียตบุกครองแมนจูเรีย

อ้างอิง

[แก้]
  1. "World War II: Mexican Air Force Helped Liberate the Philippines". History.net. June 12, 2006. สืบค้นเมื่อ June 12, 2015.
  2. Schmidt 1982[ลิงก์เสีย]. Retrieved October 22, 2015.
  3. Chapter 11: Operations of the Eighth Army in the Central and Southern Philippines, pp. 358 เก็บถาวร 2020-06-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Retrieved March 10, 2016
  4. Hunt, Ray C.; Bernard Norling (2000). Behind Japanese Lines: An American Guerrilla in the Philippines. University Press of Kentucky. p. 107. ISBN 978-0-8131-0986-2. สืบค้นเมื่อ February 24, 2011.
  5. Stein Ugelvik Larsen, Fascism Outside Europe, Columbia University Press, 2001, p. 785
  6. Smith, Triumph in the Philippines Appendix H
  7. Cannon, Leyte: Return to the Philippines, pp. 368–369
  8. Smith, Triumph in the Philippines, pp. 692–693
  9. 9.0 9.1 9.2 Tucker, Spencer (2012). Almanac of American Military History, Vol. 1. ABC-CLIO. p. 1668. ISBN 978-1-59-884530-3.
  10. "Triumph in the Philippines" pp. 48 & 66 เก็บถาวร 2016-12-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Retrieved October 26, 2015
  11. "Luzon" เก็บถาวร 2016-05-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 93,400 non-combat casualties on Luzon alone. Retrieved October 26, 2015
  12. 12.0 12.1 "Triumph in the Philippines" pp. 48–66 เก็บถาวร 2016-12-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Retrieved October 26, 2015
  13. According to the National World War II Museum, Filipino military deaths during the war numbered 57,000. A significant portion must have fallen in the 1944–45 campaign.
  14. Final report, progress of demobilization of the Japanese Armed Forces, Part III: Overseas Areas and IV: Air Forces enclosure #44 เก็บถาวร 2016-01-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Retrieved March 10, 2016. With 109,890 Japanese military personnel repatriated immediately after the war, that leaves around 419,912 Japanese dead, missing, or still holding out.
  15. American Battles and Campaigns: A Chronicle from 1622 to 2010 by Chris McNab, p. 184.
  16. American Historical Association: Lessons from Iwo Jima. Retrieved November 13, 2015.
  1. Includes deaths among wounded but excludes nonbattle deaths; total battle casualties amounted to 60,717. Subtotals are: Luzon: 8,310 killed and 29,560 wounded,[6] Leyte: 3,593 dead/missing and 11,991 wounded,[7] Other: 2,070 dead and 6,990 wounded[8]
  2. 3,800 casualties at Leyte Gulf,[9] 2,680 naval casualties in the month after December 13, 1944, and 790 lost in a typhoon[10]