ฟุตบอลโลกหญิง 2015
ตราสัญลักษณ์ฟุตบอลโลกหญิง 2015 อย่างเป็นทางการ | |
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | แคนาดา |
วันที่ | 6 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม ค.ศ. 2015 |
ทีม | 24 (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 6 (ใน 6 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | สหรัฐ (สมัยที่ 3rd) |
รองชนะเลิศ | ญี่ปุ่น |
อันดับที่ 3 | อังกฤษ |
อันดับที่ 4 | เยอรมนี |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 52 |
จำนวนประตู | 146 (2.81 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 1,353,506 (26,029 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | เซเลีย ซาซิช คาร์ลี ลอยด์ (6 ประตู เท่ากัน) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | คาร์ลี ลอยด์ |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | โฮป โซโล |
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | คาเดอีชา บูชานัน |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ฝรั่งเศส |
ฟุตบอลโลกหญิง 2015 (อังกฤษ: 2015 FIFA Women's World Cup) เป็นฟุตบอลโลกหญิงครั้งที่ 7 ซึ่งเป็นการแข่งขันชิงแชมป์ฟุตบอลหญิงนานาชาติ ซึ่งในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 แคนาดาได้รับสิทธิ์เป็นเจ้าภาพ โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน ถึงวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2558[1]
การคัดเลือกเจ้าภาพ
[แก้]การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง รวมถึงสิทธิการเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี ของปีที่ผ่านมา (คล้ายกับในประเภทชาย ที่มีเจ้าภาพคอนเฟเดอเรชันส์คัพในปีก่อน) ซึ่งการเสนอตัวของผู้ประสงค์เป็นเจ้าภาพจะส่งมาในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2010 โดยมีเพียงสองประเทศเท่านั้นที่ได้รับการส่งมา อันได้แก่:[2]
โดยประเทศซิมบับเวได้ถอนตัวออกในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2011 [3] ซึ่งเป็นประเทศที่ได้รับการจับตามองอย่างยาวนาน โดยทีมหญิงของประเทศดังกล่าวอยู่ในอันดับที่ 103 ของโลกในช่วงที่มีการเสนอตัว และยังไม่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่การแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงแต่อย่างใด นอกจากนี้ยังมีความไม่แน่นอนทางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การปกครองของโรเบิร์ต มูกาเบ[4]
การคัดเลือก
[แก้]สำหรับการแข่งขันรายการนี้ จำนวนของทีมจะขยายจาก 16 ทีม ไปเป็น 24 ทีม โดยมีจำนวนของการแข่งขันเพิ่มขึ้นจาก 32 คู่ ไปเป็น 52 คู่[5] เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 2012 ทางฟีฟ่าได้ประกาศให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดสรรการคัดเลือกตำแหน่งของสหพันธ์ภาคพื้นทวีป คณะกรรมการบริหารฟีฟ่าได้อนุมัติการจัดสรรตาราง และแบ่งสายของแปดทีมใหม่ดังต่อไปนี้:[6]
- เอเอฟซี (เอเชีย): 5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 3)
- ซีเอเอฟ (แอฟริกา): 3 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
- คอนคาแคฟ (อเมริกาเหนือ/กลาง, แคริบเบียน): 3.5+เจ้าภาพ 1 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2.5)
- คอนเมบอล (อเมริกาใต้): 2.5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
- โอเอฟซี (โอเชียเนีย): 1 ประเทศ (เช่นเดียวกับ ค.ศ. 2011)
- ยูฟ่า (ยุโรป): 8 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 4.5+1)
หลังจากที่นักฟุตบอลเกาหลีเหนือหลายรายถูกตรวจพบสารกระตุ้นในช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2011 ทางฟีฟ่าจึงได้ห้ามเกาหลีเหนือได้มีส่วนร่วมในฟุตบอลโลกหญิง 2015 ที่ประเทศแคนาดา ซึ่งนี่เป็นการลงโทษครั้งแรกที่เกิดขึ้นในฟุตบอลโลกหญิง และเป็นครั้งแรกนับจากปี ค.ศ. 1995 ที่ทีมเกาหลีเหนือไม่ได้เข้าร่วมในฟุตบอลโลกหญิง[7]
ทีมจากที่ผ่านเข้ารอบทวีปต่าง ๆ
[แก้]การแข่งขัน | วันที่ | สถานที่ | ทีม | ทีมที่ผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|
เจ้าภาพ | 1 | แคนาดา | ||
ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 | 14–25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 | เวียดนาม | 5 | จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย ไทย (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก) |
ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 | 11–25 ตุลาคม พ.ศ. 2557 | นามิเบีย | 3 | ไนจีเรีย แคเมอรูน (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก) โกตดิวัวร์ (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก) |
ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 | 15–26 ตุลาคม พ.ศ. 2557 | สหรัฐ | 3.5 | คอสตาริกา (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก) เม็กซิโก สหรัฐ |
ฟุตบอลหญิงโกปาอาเมริกา 2014 | 11–28 กันยายน พ.ศ. 2557 | เอกวาดอร์ | 2.5 | บราซิล โคลอมเบีย เอกวาดอร์ (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก) |
ฟุตบอลหญิงโอเชียเนียเนชั่นคัพ 2014 | 25–29 ตุลาคม พ.ศ. 2557 | ปาปัวนิวกินี | 1 | นิวซีแลนด์ |
รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง ฟีฟ่า ยูฟ่า 2014 | รอบแบ่งกลุ่ม | 8 | เยอรมนี สเปน (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก) สวิตเซอร์แลนด์ (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก) สวีเดน นอร์เวย์ อังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก) | |
รวม | 24 | Field is Finalized |
สนามแข่งขัน
[แก้]เมืองแวนคูเวอร์, เอ็ดมอนตัน, วินนิเพก, ออตตาวา, มอนทรีออล และ มองก์ตัน ต่างได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันทัวร์นาเมนท์[8] ส่วนเมืองแฮลิแฟกซ์ ก็ได้รับการกล่าวถึงเช่นกัน แต่ได้ถอนตัวออกจากรายการแข่งขันในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012[9] ส่วนเมืองโทรอนโตได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นเมืองเจ้าภาพจัดการแข่งขันรอบไฟนอลหากการเสนอชื่อประสบความสำเร็จ แต่ในท้ายที่สุดก็ได้มีการถอดถอนออกจากการเสนอชื่อ เนื่องจากความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นกับแพนอเมริกันเกมส์ 2015[10] เนื่องด้วยนโยบายของฟีฟ่ากับการให้การสนับสนุนเชิงพาณิชย์ ทั้งนี้ สนามฟุตบอลอินเวสเตอร์กรุ๊ปฟิลด์ในวินนิเพกจะเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในการแข่งขัน
ก่อนหน้านี้ ประเทศแคนาดาได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันของฟีฟ่า อันประกอบด้วย ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1987, ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 และ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2007 ซึ่งได้รับการบันทึกรายการแข่งขัน
เอ็ดมอนตัน | มอนทรีออล | แวนคูเวอร์ |
---|---|---|
สนามกีฬาเครือจักรภพ | สนามกีฬาโอลิมปิก | บีซีเพลซ |
ความจุ: 60,081 | ความจุ: 66,308 | ความจุ: 54,500 |
วินนิเพก | ออตตาวา | มองก์ตัน |
สนามกีฬาวินนิเพก | สนามกีฬาแฟรงก์ แคลร์ | สนามกีฬามองก์ตัน |
ความจุ: 33,422 (ขยายได้ถึง 40,000) | ความจุ: 26,559 (ขยายได้ถึง 45,000) | ความจุ: 10,000 (ขยายได้ถึง 20,725 +) |
ผู้ตัดสิน
[แก้]การจับสลากแบ่งสาย
[แก้]ทั้ง 24 ทีม ที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย แบ่งเป็น 6 กลุ่มกลุ่มละ 4 ทีม ได้มีการจับสลากแบ่งสายขึ้น เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2557 ที่ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติแห่งแคนาดา ออตตาวา โดยการแข่งขัน ผู้ที่ได้อันดับที่ 1 กับอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่มและ 4 ทีมที่มีคะแนนดีที่สุดจากอันดับที่ 3 ของแต่ละกลุ่มจะเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย
โหลที่ 1 (ทีมวาง) | โหลที่ 2 (CAF, CONCACAF, OFC) | โหลที่ 3 (AFC, CONMEBOL) | โหลที่ 4 (ยูฟ่า) |
---|---|---|---|
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]กลุ่มเอ
[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | แคนาดา (H, A) | 3 | 1 | 2 | 0 | 2 | 1 | +1 | 5 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | จีน (A) | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4 | |
3 | เนเธอร์แลนด์ (Y) | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ |
4 | นิวซีแลนด์ (E) | 3 | 0 | 2 | 1 | 2 | 3 | −1 | 2 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (Y) Cannot qualify directly as one of the top two teams, but may still qualify as third-placed team.
นิวซีแลนด์ | 0–1 | เนเธอร์แลนด์ |
---|---|---|
รายงาน | มาร์เทนส์ 33' |
เนเธอร์แลนด์ | 0–1 | จีน |
---|---|---|
รายงาน | หวัง ลีซี 90+1' |
เนเธอร์แลนด์ | 1–1 | แคนาดา |
---|---|---|
ฟัน เดอ เฟน 87' | รายงาน | ลอว์เรนซ์ 10' |
นิวซีแลนด์ | 2–2 | จีน |
---|---|---|
สตอตต์ 28' วิลคินสัน 64' |
รายงาน | หวัง หลีซี 41' (จุดโทษ) หวัง ฉานฉาน 60' |
กลุ่มบี
[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เยอรมนี (A) | 3 | 2 | 1 | 0 | 15 | 1 | +14 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | นอร์เวย์ (A) | 3 | 2 | 1 | 0 | 8 | 2 | +6 | 7 | |
3 | ไทย (Y) | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 10 | −7 | 3 | รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ |
4 | โกตดิวัวร์ (E) | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 16 | −13 | 0 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (Y) Cannot qualify directly as one of the top two teams, but may still qualify as third-placed team.
ไทย | 0–4 | นอร์เวย์ |
---|---|---|
รายงาน | รอนนิง 16' เฮอร์ลอฟเซน 29', 34' เฮเกอร์แบร์ก 68' |
เยอรมนี | 10–0 | โกตดิวัวร์ |
---|---|---|
ซาซิช 3', 14', 31' มิททัค 29', 35', 64' เลาเดอห์ 71' ดาบริตซ์ 75' เบห์รินเกอร์ 79' ปอปป์ 85' |
รายงาน |
ไทย | 3-2 | โกตดิวัวร์ |
---|---|---|
ศรีมณี 26', 45+3' ชาวงษ์ 75' |
รายงาน | เอ็น'กูเอสซอง 2' นาฮี 88' |
โกตดิวัวร์ | 1–3 | นอร์เวย์ |
---|---|---|
เอ็น'กูเอสซ็อง 71' | รายงาน | เฮเกอร์แบร์ก 6', 62' กุลบรันด์เซน 67' |
กลุ่มซี
[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น (A) | 3 | 3 | 0 | 0 | 4 | 1 | +3 | 9 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | แคเมอรูน (A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 9 | 3 | +6 | 6 | |
3 | สวิตเซอร์แลนด์ (A) | 3 | 1 | 0 | 2 | 11 | 4 | +7 | 3 | |
4 | เอกวาดอร์ (E) | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 17 | −16 | 0 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
แคเมอรูน | 6–0 | เอกวาดอร์ |
---|---|---|
เอ็นโกโน มานี 34' แอนกานามูอิต 36', 73', 90+4' (จุดโทษ) มาไนย์ 44' (จุดโทษ) ออนกูเอเน 79' (จุดโทษ) |
รายงาน |
ญี่ปุ่น | 1–0 | สวิตเซอร์แลนด์ |
---|---|---|
มิยะมะ 29' (จุดโทษ) | รายงาน |
สวิตเซอร์แลนด์ | 10–1 | เอกวาดอร์ |
---|---|---|
ปอนเช 24' (เข้าประตูตัวเอง), 71' (เข้าประตูตัวเอง) ไอก์โบกุน 45+2' ฮุมม์ 47', 49', 52' บาชมันน์ 60' (จุดโทษ), 61', 81' โมเซอร์ 76' |
รายงาน | ปอนเช 64' (จุดโทษ) |
สวิตเซอร์แลนด์ | 1–2 | แคเมอรูน |
---|---|---|
ชร์โนโกร์เชวิช 24' | รายงาน | ออนกูเอเน 47' เอ็นโกโน มานี 62' |
กลุ่มดี
[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สหรัฐ (A) | 3 | 2 | 1 | 0 | 4 | 1 | +3 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | ออสเตรเลีย (A) | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 4 | 0 | 4 | |
3 | สวีเดน (Y) | 3 | 0 | 3 | 0 | 4 | 4 | 0 | 3 | รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ |
4 | ไนจีเรีย (E) | 3 | 0 | 1 | 2 | 3 | 6 | −3 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า.
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (Y) ?.
สวีเดน | 3–3 | ไนจีเรีย |
---|---|---|
โอปาราโนไซย์ 21' (เข้าประตูตัวเอง) ฟิสเชอร์ 31' เซมบรานท์ 60' |
รายงาน | โอโคบี 50' โอโชอาลา 53' ออร์เดกา 87' |
ออสเตรเลีย | 2–0 | ไนจีเรีย |
---|---|---|
ไซมอน 29', 68' | รายงาน |
ออสเตรเลีย | 1–1 | สวีเดน |
---|---|---|
เด วานนา 5' | รายงาน | ยาค็อบส์สัน 15' |
กลุ่มอี
[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บราซิล | 3 | 3 | 0 | 0 | 4 | 0 | +4 | 9 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | เกาหลีใต้ | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 5 | −1 | 4 | |
3 | คอสตาริกา | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 2 | รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ |
4 | สเปน | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 4 | −2 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
สเปน | 1–1 | คอสตาริกา |
---|---|---|
โลซาดา 13' | รายงาน | ร. โรดรีเกซ 14' |
เกาหลีใต้ | 2–1 | สเปน |
---|---|---|
โช โซ-ฮยุน 53' คิม ซู-ยุน 78' |
รายงาน | โบเควเต 29' |
กลุ่มเอฟ
[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ฝรั่งเศส | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 2 | +4 | 6 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | อังกฤษ | 3 | 2 | 0 | 1 | 4 | 3 | +1 | 6 | |
3 | โคลอมเบีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 3 | +1 | 4 | รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ |
4 | เม็กซิโก | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 8 | −6 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
ฝรั่งเศส | 1–0 | อังกฤษ |
---|---|---|
เล ซอมเมร์ 29' | รายงาน |
ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3
[แก้]ทีมที่มีคะแนนดีที่สุดจากอันดับที่ 3 ของแต่ละกลุ่มจะเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย ตามตารางการแข่งขันที่ได้จับสลากแบ่งสาย:[11]
อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | Result |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | F | โคลอมเบีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 3 | +1 | 4 | รอบแพ้คัดออก |
2 | A | เนเธอร์แลนด์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
3 | C | สวิตเซอร์แลนด์ | 3 | 1 | 0 | 2 | 11 | 4 | +7 | 3 | |
4 | D | สวีเดน | 3 | 0 | 3 | 0 | 4 | 4 | 0 | 3 | |
5 | B | ไทย | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 10 | −7 | 3 | |
6 | E | คอสตาริกา | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 2 |
กฎการจัดอันดับ : 1) points; 2) goal difference; 3) number of goals scored; 4) drawing of lots.
ในรอบต่อไปสี่ทีมอันดับสามที่ดีที่สุดจะมีโปรแกรมแข่งขันกับทีมแชมป์ของกลุ่ม เอ, บี, ซี และ ดี สอดคล้องถึงตารางที่ตีพิมพ์ในมาตรา 28 ของกฏระเบียบการแข่งขัน.[11]
รอบสุดท้าย
[แก้]รอบ 16 ทีม | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||
20 มิถุนายน – เอ็ดมอนตัน | ||||||||||||||
จีน | 1 | |||||||||||||
26 มิถุนายน – ออตตาวา | ||||||||||||||
แคเมอรูน | 0 | |||||||||||||
จีน | 0 | |||||||||||||
22 มิถุนายน – เอ็ดมอนตัน | ||||||||||||||
สหรัฐ | 1 | |||||||||||||
สหรัฐ | 2 | |||||||||||||
30 มิถุนายน – มอนทรีออล | ||||||||||||||
โคลอมเบีย | 0 | |||||||||||||
สหรัฐ | 2 | |||||||||||||
20 มิถุนายน – ออตตาวา | ||||||||||||||
เยอรมนี | 0 | |||||||||||||
เยอรมนี | 4 | |||||||||||||
26 มิถุนายน – มอนทรีออล | ||||||||||||||
สวีเดน | 1 | |||||||||||||
เยอรมนี (ลูกโทษ) | 1 (5) | |||||||||||||
21 มิถุนายน – มอนทรีออล | ||||||||||||||
ฝรั่งเศส | 1 (4) | |||||||||||||
ฝรั่งเศส | 3 | |||||||||||||
5 กรกฎาคม – แวนคูเวอร์ | ||||||||||||||
เกาหลีใต้ | 0 | |||||||||||||
สหรัฐ | 5 | |||||||||||||
21 มิถุนายน – มองก์ตัน | ||||||||||||||
ญี่ปุ่น | 2 | |||||||||||||
บราซิล | 0 | |||||||||||||
27 มิถุนายน – เอ็ดมอนตัน | ||||||||||||||
ออสเตรเลีย | 1 | |||||||||||||
ออสเตรเลีย | 0 | |||||||||||||
23 มิถุนายน – แวนคูเวอร์ | ||||||||||||||
ญี่ปุ่น | 1 | |||||||||||||
ญี่ปุ่น | 2 | |||||||||||||
1 กรกฎาคม – เอ็ดมอนตัน | ||||||||||||||
เนเธอร์แลนด์ | 1 | |||||||||||||
ญี่ปุ่น | 2 | |||||||||||||
22 มิถุนายน – ออตตาวา | ||||||||||||||
อังกฤษ | 1 | อันดับที่ 3 | ||||||||||||
นอร์เวย์ | 1 | |||||||||||||
27 มิถุนายน – แวนคูเวอร์ | 4 กรกฎาคม – เอ็ดมอนตัน | |||||||||||||
อังกฤษ | 2 | |||||||||||||
อังกฤษ | 2 | เยอรมนี | 0 | |||||||||||
21 มิถุนายน – แวนคูเวอร์ | ||||||||||||||
แคนาดา | 1 | อังกฤษ (หลังต่อเวลาพิเศษ) | 1 | |||||||||||
แคนาดา | 1 | |||||||||||||
สวิตเซอร์แลนด์ | 0 | |||||||||||||
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
[แก้]แคเมอรูน | 0–1 | จีน |
---|---|---|
รายงาน | หวัง ฉานฉาน 12' |
บราซิล | 0–1 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน | ไซมอน 80' |
ญี่ปุ่น | 2–1 | เนเธอร์แลนด์ |
---|---|---|
อาริโยะชิ 10' ซาคะกุชิ 78' |
รายงาน | ฟัน เดอ เฟน 90+2' |
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]เยอรมนี | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | ฝรั่งเศส |
---|---|---|
ซาซิช 84' (จุดโทษ) | รายงาน | เนซิบ 64' |
ลูกโทษ | ||
เบห์รินเกอร์ เลาเดอห์ เพเทอร์ มารอซซาน ซาซิช |
5–4 | ธีเนย์ อาบีลี เนซิบ เรอนาร์ ลาโวเกซ |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]ญี่ปุ่น | 2–1 | อังกฤษ |
---|---|---|
มิยามะ 33' (จุดโทษ) บาสเซ็ตต์ 90+2' (เข้าประตูตัวเอง) |
รายงาน | วิลเลียมส์ 40' (จุดโทษ) |
นัดชิงอันดับที่ 3
[แก้]เยอรมนี | 0–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | อังกฤษ |
---|---|---|
รายงาน | วิลเลียมส์ 108' (จุดโทษ) |
นัดชิงชนะเลิศ
[แก้]สหรัฐ | 5–2 | ญี่ปุ่น |
---|---|---|
ลอยด์ 3', 5', 16' ฮอลิเดย์ 14' ฮีธ 54' |
รายงาน | โอกิมิ 27' จอห์นสตัน 52' (เข้าประตูตัวเอง) |
อันดับผู้ทำประตูสูงสุด
[แก้]ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.
- 6 ประตู
- 5 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- ลิซา เด วานนา
- มาเดไลเน เอ็นโกโน มานี
- กาเบรียลเล ออนกูเอเน
- คริสตีเน ซินแคลร์
- หวัง หลีซี
- หวัง ฉานฉาน
- ลาดี อันดราเด
- ลูซี บรอนซ์
- คาเรน คาร์นีย์
- ซารา ดาบริตซ์
- เลนา ปีเตอร์มันน์
- อ็องเก เอ็น'กูเอสซอง
- อะยะ มิยะมะ
- ยุกิ โอะกิมิ
- เคิร์สเทน ฟัน เดอ เฟน
- โซลเวก กุลบรันด์เซน
- อิซาเบลล์ เฮอร์ลอฟเซน
- ลินดา เซมบรานท์
- อรทัย ศรีมณี
- เมแกน ราปิโน
- 1 ประตู
- อันเดรสซา อัลเวส
- ฟอร์มีกา
- มาร์ตา
- ราเควล
- คริสตีเน มานี
- อาจารา เอ็นชูต์
- โจเซเอ เบลานเกอร์
- แอชลีย์ ลอว์เรนซ์
- ดาเนียลา มอนโตยา
- คาตาลีนา อุสเม
- เมลิสซา เอร์เรรา
- ราเควล โรดรีเกซ
- คาร์ลา บียาโลบอส
- แอนจี ปอนเช
- สเตฟ เฮาจ์ตัน
- ฟราน เคอร์บี
- โจดี เทย์เลอร์
- อามานดีเน อองรี
- ลุยซา เนซิบ
- เอโลดี โทมิส
- เมลานี เบห์รินเกอร์
- ซิโมเน เลาเดอห์
- เมลานี เลอูโปลซ์
- ดซเซนีเฟอร์ มารอซซาน
- อเล็กซานดรา ปอปป์
- โจเซเอ นาฮี
- ซะโอะริ อะริโยะชิ
- มะนะ อิวะบุชิ
- มิซุโฮะ ซะคะกุชิ
- อะยะ ซะเมะชิมะ
- ยุอิกะ สุกะซะวะ
- ฟาบีโอลา อีบาร์รา
- เบโรนีกา เปเรซ
- ไลเก มาร์เทนส์
- รีเบคาห์ สตอตต์
- แฮนนาห์ วิลคินสัน
- เอ็นโกซี โอโคบี
- ฟรานชิสกา ออร์เดกา
- อาซีซาต โอโชอาลา
- มาเรน มแยลเด
- ทรีเน บแยร์เก รอนนิง
- โช โซ-ฮยอน
- ช็อน กา-อึล
- จี โซ-ยุน
- คิม ซู-ยุน
- เบโรนีกา โบเควเต
- บิคตอเรีย โลซาดา
- นิลลา ฟิสเชอร์
- โซเฟีย ยาค็อบส์สัน
- เอเซโอซา ไอก์โบกุน
- อานา-มาเรีย ชร์โนโกร์เชวิช
- มาร์ตีนา โมเซอร์
- ธนัสถา ชาวงษ์
- โตบิน ฮีธ
- โลเรน ฮอลิเดย์
- อเล็กซ์ มอร์แกน
- ฮีเธอร์ โอ'เรลลี
- คริสเตน เพรสส์
- แอบบี วอมแบค
- 1 การทำเข้าประตูตัวเอง
- ลอรา บาสเซ็ตต์ (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)
- เคนนีเฟร์ รูอีซ (ในนัดที่พบกับ ฝรั่งเศส)
- เดซีเร โอปาราโนไซย์ (ในนัดที่พบกับ สวีเดน)
- จูลี จอห์นสตัน (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)
- 2 การทำเข้าประตูตัวเอง
- แอนจี ปอนเช (ในแมตช์เดียวกัน, ในนัดที่พบกับ สวิตเซอร์แลนด์)
แหล่งที่มา: FIFA.com[12]
รางวัล
[แก้]รางวัลที่ได้รับในช่วงสุดท้ายของการแข่งขัน.[13][14]
รางวัล | ผู้ชนะ | ตัวเลือกอื่นๆ ที่น่าสนใจ[15] |
---|---|---|
ลูกบอลทองคำ | คาร์ลี ลอยด์ | |
ลูกบอลเงิน | อาม็องดีเน อองรี | |
ลูกบอลทองแดง | อะยะ มิยะมะ | |
รองเท้าทองคำ | เซเลีย ซาซิช [note 1] | — |
รองเท้าเงิน | คาร์ลี ลอยด์ [note 1] | |
รองเท้าทองแดง | อันยา มิททัค | |
ถุงมือทองคำ | โฮป โซโล | |
นักฟุตบอลดาวรุ่งยอดเยี่ยม | คาเดอีชา บูชาแนน | |
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์ | ฝรั่งเศส | — |
- หมายเหตุ
ตารางการจัดอันดับทัวร์นาเมนต์
[แก้]Per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-out are counted as draws.
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ผลงานหลังรอบสุดท้าย |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สหรัฐ | 7 | 6 | 1 | 0 | 14 | 3 | +11 | 19 | ชนะเลิศ |
2 | ญี่ปุ่น | 7 | 6 | 0 | 1 | 11 | 8 | +3 | 18 | รองชนะเลิศ |
3 | อังกฤษ | 7 | 5 | 0 | 2 | 10 | 7 | +3 | 15 | อันดับที่สาม |
4 | เยอรมนี | 7 | 3 | 2 | 2 | 20 | 6 | +14 | 11 | อันดับที่สี่ |
5 | ฝรั่งเศส | 5 | 3 | 1 | 1 | 10 | 3 | +7 | 10 | ตกรอบใน รอบก่อนรองชนะเลิศ |
6 | แคนาดา (H) | 5 | 2 | 2 | 1 | 4 | 3 | +1 | 8 | |
7 | ออสเตรเลีย | 5 | 2 | 1 | 2 | 5 | 5 | 0 | 7 | |
8 | จีน | 5 | 2 | 1 | 2 | 4 | 4 | 0 | 7 | |
9 | บราซิล | 4 | 3 | 0 | 1 | 4 | 1 | +3 | 9 | ตกรอบใน รอบ 16 ทีมสุดท้าย |
10 | นอร์เวย์ | 4 | 2 | 1 | 1 | 9 | 4 | +5 | 7 | |
11 | แคเมอรูน | 4 | 2 | 0 | 2 | 9 | 4 | +5 | 6 | |
12 | โคลอมเบีย | 4 | 1 | 1 | 2 | 4 | 5 | −1 | 4 | |
13 | เนเธอร์แลนด์ | 4 | 1 | 1 | 2 | 3 | 4 | −1 | 4 | |
14 | เกาหลีใต้ | 4 | 1 | 1 | 2 | 4 | 8 | −4 | 4 | |
15 | สวิตเซอร์แลนด์ | 4 | 1 | 0 | 3 | 11 | 5 | +6 | 3 | |
16 | สวีเดน | 4 | 0 | 3 | 1 | 5 | 8 | −3 | 3 | |
17 | ไทย | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 10 | −7 | 3 | ตกรอบใน รอบแบ่งกลุ่ม |
18 | คอสตาริกา | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 2 | |
19 | นิวซีแลนด์ | 3 | 0 | 2 | 1 | 2 | 3 | −1 | 2 | |
20 | สเปน | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 4 | −2 | 1 | |
21 | ไนจีเรีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 3 | 6 | −3 | 1 | |
22 | เม็กซิโก | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 8 | −6 | 1 | |
23 | โกตดิวัวร์ | 3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 16 | −13 | 0 | |
24 | เอกวาดอร์ | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 17 | −16 | 0 |
การตลาด
[แก้]สัญลักษณ์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โปสเตอร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตุ๊กตาสัญลักษณ์
[แก้]ลูกฟุตบอล
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กาชีรอลา
[แก้]สิทธิการออกอากาศ
[แก้]สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศจำหน่ายลิขสิทธิ์การถ่ายทอดโทรทัศน์ ให้แก่บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (BEC) ได้รับลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวในการถ่ายทอดการแข่งขันฟีฟ่าฟุตบอลโลกหญิง 2015 ผ่านทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยมีการถ่ายทอดสดกลับมายังประเทศไทยทั้งหมด 8 นัดรวมถึงนัดที่ทีมชาติไทยแข่งขัน ผ่านทางช่อง 3 ออริจินัล, ช่อง 3 HD, ช่อง 3 SD, ช่อง 3 Family และ ทางเว็บไซต์ tv.bectero.com จากทั้งหมด 56 นัดของรายการแข่งขัน และ การถ่ายทอดสดทุกนัดจะไม่มีโฆษณาคั่น[16]
สำหรับรายการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกหญิง 2015 มีดังนี้
วันที่ | ทีม | เวลา | ช่อง |
---|---|---|---|
5 มิถุนายน | แคนาดา พบ จีน | 04:45-07:00 | ช่อง 3 ออริจินอล และช่อง 3 HD |
7 มิถุนายน | นอร์เวย์ พบ ไทย | 23:45-02:00 | ช่อง 3 ออริจินอล และช่อง 3 HD |
9 มิถุนายน | ญี่ปุ่น พบ สวิตเซอร์แลนด์ | 08:45-11:00 | ช่อง 3 SD 28 |
10 มิถุนายน | บราซิล พบ เกาหลีใต้ | 05:45-08:00 | ช่อง 3 SD 28 |
12 มิถุนายน | โกตดิวัวร์ พบ ไทย | 05:45-08:00 | ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น. และทางช่อง 3 ออริจินอลกับช่อง 3 HD ในเวลา 23:15 น.) |
13 มิถุนายน | สหรัฐ พบ สวีเดน | 06:45-09:00 | ช่อง 3 SD 28 |
16 มิถุนายน | ไทย พบ เยอรมนี | 02:45-05:00 | ช่อง 3 ออริจินอล และช่อง 3 HD |
25 มิถุนายน | รอบ 16 ทีมสุดท้าย ญี่ปุ่น พบ เนเธอร์แลนด์ |
08:45-11:00 | ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น.) |
27 มิถุนายน | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (คู่ที่สอง) จีน พบ สหรัฐ |
06:15-08:30 | ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น.) |
28 มิถุนายน | รอบ 8 ทีมสุดท้าย (คู่ที่สี่) อังกฤษ พบ แคนาดา |
06:15-08:30 | ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น.) |
1 กรกฎาคม | รอบรองชนะเลิศ (คู่แรก) สหรัฐ พบ เยอรมนี |
05:45-08:00 | ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น. และทางช่อง 3 ออริจินอลกับช่อง 3 HD ในเวลา 23:15 น.) |
2 กรกฎาคม | รอบรองชนะเลิศ (คู่ที่สอง) ญี่ปุ่น พบ อังกฤษ |
05:45-08:00 | ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น. และทางช่อง 3 ออริจินอลกับช่อง 3 HD ในเวลา 23:15 น.) |
5 กรกฎาคม | นัดชิงอันดับที่ 3 เยอรมนี พบ อังกฤษ |
02:45-05:00 | ช่อง 3 ออริจินอล และช่อง 3 HD (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น.) |
6 กรกฎาคม | นัดชิงชนะเลิศ สหรัฐ พบ ญี่ปุ่น |
05:45-08:00 | ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น. และทางช่อง 3 ออริจินอลกับช่อง 3 HD ในเวลา 23:15 น.) |
- หมายเหตุ รายการถ่ายทอดสดตรงกับเวลาช่วงกลางดึกและเช้าตรู่ตามเวลาในประเทศไทย
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "FIFA Calendar". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-24. สืบค้นเมื่อ 21 February 2013.
- ↑ "Remarkable interest in hosting FIFA competitions". FIFA. 17 January 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-11. สืบค้นเมื่อ 21 July 2011.
- ↑ "Zimbabwe withdraws bid to host 2015 Women's World Cup". BBC. สืบค้นเมื่อ 22 February 2012.
- ↑ 2015: The case for Canada
- ↑ MacKinnon, John (1 December 2010). "The party's over ... what's next?". Edmonton Journal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-14. สืบค้นเมื่อ 1 December 2010.
- ↑ "Qualification slots for Canada 2015 confirmed". FIFA.com. 11 June 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-30. สืบค้นเมื่อ 2012-09-05.
- ↑ "FIFA Disciplinary Committee decisions for Germany 2011". 25 August 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-03. สืบค้นเมื่อ 12 June 2013.
- ↑ Bekanntgabe der Spielorte der FIFA Frauen-WM Kanada 2015 เก็บถาวร 2013-01-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เยอรมัน)
- ↑ "No Halifax stadium for soccer World Cup". The Chronicle Herald. 27 March 2012. สืบค้นเมื่อ 22 October 2012.
- ↑ "Canadian host cities for 2015 Women's World Cup unveiled". CBC.ca. 4 May 2012. สืบค้นเมื่อ 4 May 2012.
- ↑ 11.0 11.1 "Regulations FIFA Women's World Cup Canada 2015™" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 December 2014.
- ↑ "Statistics — Players — Top goals". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-02. สืบค้นเมื่อ 2015-06-13.
- ↑ "Awards". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08. สืบค้นเมื่อ 2015-07-06.
- ↑ "Lloyd, Solo and Sasic lead the way". FIFA.com. 6 July 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-24. สืบค้นเมื่อ 2015-07-06.
- ↑ "FIFA announces shortlists for FIFA Women's World Cup 2015 awards". FIFA.com. 2 July 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-23. สืบค้นเมื่อ 2015-07-06.
- ↑ ช่อง 3 คว้าลิขสิทธิ์ 3 งานใหญ่ ประเดิมถ่ายบอลโลกหญิง FIFA
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- FIFA Women's World Cup เก็บถาวร 2015-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน