ว่า
See also: วา
Bisu
editPronunciation
editNoun
editว่า (wà)
- pig.
Northern Thai
editConjunction
editว่า • (transliteration needed)
- Alternative spelling of ᩅ᩵ᩤ (“that”)
- 2017, Wycliffe Bible Translators, พระคริสตธรรมคัมภีร์ [New Testament], →ISBN, Matthew i.21, page 4:
- มารีย์
จะ เกิด ลูก ป้อจาย เมื่อ เกิด มา แล้ว หื้อ ตั้ง จื้อ ว่า ‘เยซู’ ย้อน ว่า ต้าน จะ จ้วย คน ของ ต้าน หื้อ รอด ป๊น บาป โต้ษ - maa-rii cà kə̀ət lûuk pɔ̂ɔ-caai. mʉ̂ʉa kəət maa lɛ́ɛo, hʉ̂ʉ tâŋ cʉ̂ʉ wâa 'yeesuu' yɔ̂ɔn wâa tâan cà cûuai khon khɔ̂ɔŋ tâan hʉ̂ʉ rɔ̂ɔt pón bàap tôot
- Mary shall give birth to a male child. Once he has been born, you shall give him 'Jesus' as his name for the reason that it is he who shall help his people to escape from their sins.
Thai
editEtymology
editFrom Middle Chinese 話 (MC hwaejH, “to say; to speak”). Cognate with Lao ວ່າ (wā), Northern Thai ᩅ᩵ᩤ, Khün ᩅ᩵ᩤ, Lü ᦞᦱᧈ (vaa¹), Shan ဝႃႈ (wāa), Tai Dam ꪫ꪿ꪱ, Ahom 𑜈𑜠 (ba), Zhuang vah.
Pronunciation
editOrthographic/Phonemic | ว่า w ˋ ā | |
Romanization | Paiboon | wâa |
Royal Institute | wa | |
(standard) IPA(key) | /waː˥˩/(R) | |
Homophones | หว้า |
Verb
editว่า • (wâa) (abstract noun การว่า)
- to say, to speak, to tell; to utter, to pronounce.
- to instruct; to direct.
- to address; to deal (with); to handle; to administer; to manage.
- to admonish; to scold; to rebuke; to lecture.
- to criticise; to comment negatively; to speak ill (of).
- (now rare) to sing; to chant.
- (now often in combination) to hire; to employ; to ask to do something in exchange for compensation.
- to think, to view; to bear in mind, have in mind, or create in mind (a thought, opinion, idea, etc); to plan, to intend.
- 2019 April 24, ยิ่งยศ ปัญญา, 03:55 from the start, in ลองกอดหนูดูสิม้า (กรงกรรม)[1], spoken by ย้อย อัศวรุ่งเรืองกิจ (ใหม่ เจริญปุระ), Bangkok: Channel 3, retrieved 2019-07-30:
- ม้าไม่อยากให้เอ็งกลับไปเชียงใหม่แล้วล่ะ มาอยู่ด้วยกันเสียใกล้ ๆ ที่นี่แหละ ม้าว่าจะยกตึกที่ปากน้ำโพให้เอ็งทั้งสองคน เอ็งสองคนผัวเมียอยากจะค้าขายอะไรก็ไปปรึกษากัน
- máa mâi yàak hâi eng glàp bpai chiiang-mài lɛ́ɛo lâ · maa yùu dûai-gan sǐia glâi glâi tîi-nîi lɛ̀ · máa wâa jà yók dtʉ̀k tîi bpàak-nám-poo hâi eng táng sɔ̌ɔng kon · eng sɔ̌ɔng kon pǔua miia yàak jà káa-kǎai à-rai gɔ̂ bpai bprʉ̀k-sǎa gan
- I don't want you to return to Chiang Mai anymore. Come [and] live together near this very place. I think [I] will to give the buildings at Pak Nam Pho to both of you. [If] you two, husband [and] wife, want to do [any] business whatsoever, just go consult each other.
- ม้าไม่อยากให้เอ็งกลับไปเชียงใหม่แล้วล่ะ มาอยู่ด้วยกันเสียใกล้ ๆ ที่นี่แหละ ม้าว่าจะยกตึกที่ปากน้ำโพให้เอ็งทั้งสองคน เอ็งสองคนผัวเมียอยากจะค้าขายอะไรก็ไปปรึกษากัน
- (archaic) to mean; to denote; to signify.
See also
editto say, to speak, to tell; to utter, to pronounce
Conjunction
editว่า • (wâa)
- as; like; as if.
- as; that; as follows.
- Synonym: ที่ (tîi)
- 1681, พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ, Bangkok: โรงพิมพ์ไทย, published 1907, page 3:
- ศักราช ๗๘๑ กุญศก มีข่าวมาว่า พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้านฤพานแลเมืองเหนือทั้งปวงเปนจลาจล
- sàk-gà-ràat · jèt-rɔ́ɔi bpɛ̀ɛt-sìp èt · gun sòk · mii kàao maa wâa · prá má-hǎa tam-má-raa-chaa-tí-râat jâao ná-rʉ́-paan lɛɛ mʉʉang nʉ̌ʉa táng-bpuuang bpen jà-laa-jon
- [In] the year 781, the Year of the Pig, there came the tidings that Phra Maha Thammarachathirat the Lord had passed into eternity and all the northern towns fell into turbulency.
- ศักราช ๗๘๑ กุญศก มีข่าวมาว่า พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้านฤพานแลเมืองเหนือทั้งปวงเปนจลาจล
- 1926, สิน เฉลิมเผ่า, ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๓๔, Bangkok: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, page 10:
- ข้าพเจ้าได้พูดกับเจ้าพระยาวิชเยนทรว่า ชายคนนี้แลสมควรที่จะเปนราชทูตออกไปเมืองฝรั่งเศส
- kâa-pá-jâao dâai pûut gàp jâao-prá-yaa wít-chá-yeen wâa · chaai kon níi lɛɛ sǒm-kuuan tîi jà bpen râat-chá-tûut ɔ̀ɔk bpai mʉʉang fà-ràng-sèet
- I had spoken with Chaophraya Witchayen that this man, indeed, befitted being a royal diplomat [for] going out to France.
- ข้าพเจ้าได้พูดกับเจ้าพระยาวิชเยนทรว่า ชายคนนี้แลสมควรที่จะเปนราชทูตออกไปเมืองฝรั่งเศส
- 1935 June 10, “ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย[2], Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 4 October 2020:
- ถ้ามีเหตุควรเชื่อว่า ผู้ต้องหาหรือจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ให้พนักงานสอบสวนหรือศาล แล้วแต่กรณี สั่งให้พนักงานแพทย์ตรวจผู้นั้น...
- tâa mii hèet kuuan chʉ̂ʉa wâa · pûu-dtɔ̂ng-hǎa rʉ̌ʉ jam-ləəi bpen pûu wí-gon-jà-rìt lɛ́ mâi sǎa-mâat dtɔ̀ɔ-sûu ká-dii dâai · hâi pá-nák-ngaan-sɔ̀ɔp-sǔuan rʉ̌ʉ sǎan · lɛ́ɛo-dtɛ̀ɛ-gɔɔ-rá-nii · sàng hâi pá-nák-ngaan pɛ̂ɛt dtrùuat pûu nán ...
- If there is a reasonable cause to believe that the alleged offender or accused person is a person of unsound mind and is unable to defend [his] case, the inquiry officer or court, as the case may be, shall order a medical officer to examine such person...
- ถ้ามีเหตุควรเชื่อว่า ผู้ต้องหาหรือจำเลยเป็นผู้วิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ ให้พนักงานสอบสวนหรือศาล แล้วแต่กรณี สั่งให้พนักงานแพทย์ตรวจผู้นั้น...
- as to; regarding; concerning.
- 1894 February 5, “พระราชบัญญัติตั้งศาลรับสั่งเปนการพิเศษครั้งหนึ่งสำหรับชำระคนในบังคับสยามที่ต้องหาว่า กระทำความร้ายผิดกฎหมายที่ทุ่งเชียงคำ แลที่แก่งเจ๊ก เมืองคำมวญ”, in ราชกิจจานุเบกษา, volume 40, number 46, Bangkok, page 500:
- คนในบังคับสยามผู้ต้องหาว่า กระทำความร้ายผิดกฎหมายต่อคนในบังคับฝรั่งเศส
- kon nai bang-káp sà-yǎam pûu dtɔ̂ng hǎa wâa · grà-tam kwaam-ráai pìt gòt-mǎai dtɔ̀ɔ kon nai bang-káp fà-ràng-sèet
- persons under Siamese protection who were accused of having committed offences [or] breaches of law against people under French protection
- คนในบังคับสยามผู้ต้องหาว่า กระทำความร้ายผิดกฎหมายต่อคนในบังคับฝรั่งเศส
Derived terms
edit- ต่อว่า (dtɔ̀ɔ-wâa)
- ต่อว่าต่อขาน
- ต่างว่า
- ทว่า (tá-wâa)
- ที่ว่าการ
- นายว่าขี้ข้าพลอย
- ปากว่าตาขยิบ (bpàak-wâa-dtaa-kà-yìp)
- ปากว่ามือถึง
- เป็นว่าเล่น
- ผู้ว่า
- ผู้ว่าการ (pûu-am-nuai-gaan)
- ผู้ว่าคดี
- ผู้ว่าราชการ (pûu-wâa-râat-chá-gaan)
- รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม
- ล่วงว่า
- ว่ากลอนสด
- ว่ากล่าว
- ว่าการ (wâa-gaan)
- ว่าขาน
- ว่าข้ามหัว
- ว่าเข้านั่น
- ว่าคดี
- ว่าความ (wâa-kwaam)
- ว่าง่าย
- ว่าจ้าง
- ว่าด้วย (wâa-dûai)
- ว่าต่าง (wâa-dtàang)
- ว่าตามหลัง
- ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง (wâa-dtɛ̀ɛ-kǎo-ì-nǎo-bpen-eeng)
- ว่าที่ (wâa-tîi)
- ว่านอนสอนง่าย
- ว่าไปทำไมมี
- ว่าไม่ได้
- ว่าไม่ไว้หน้า
- ว่ายาก
- ว่ายากสอนยาก
- ว่าลับหลัง
- ว่าแล้ว
- ว่าแล้วว่าอีก
- ว่าวอน
- ว่าส่ง ๆ
- ว่าส่งเดช
- ว่าส่งไป
- ว่าสาดเสียเทเสีย
- ว่าใส่หน้า
- ว่าอะไรว่าตามกัน
- ว่าเอาเอง
- สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น (sìp-bpàak-wâa-mâi-tâo-dtaa-hěn)
- แสร้งว่า (sɛ̂ɛng-wâa)
- หาว่า
- อันว่า (an-wâa)
- โอ้ว่า
Categories:
- Bisu terms with IPA pronunciation
- Bisu lemmas
- Bisu nouns
- Northern Thai lemmas
- Northern Thai conjunctions
- Northern Thai terms with quotations
- Thai terms borrowed from Middle Chinese
- Thai terms derived from Middle Chinese
- Rhymes:Thai/aː
- Thai terms with homophones
- Thai terms with IPA pronunciation
- Thai 1-syllable words
- Thai lemmas
- Thai verbs
- Thai terms with rare senses
- Thai terms with usage examples
- Thai terms with archaic senses
- Thai conjunctions