[go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

อักษรละติน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Latin alphabet)
อักษรละติน
อักษรโรมัน
ชนิด
ช่วงยุค
~700 ปี ก่อนคริสตกาล – ปัจจุบัน
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูด

เป็นทางการใน:

132 รัฐอธิปไตย

กึ่งทางการใน:

อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
ระบบพี่น้อง
ISO 15924
ISO 15924Latn (215), ​Latin
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Latin
ช่วงยูนิโคด
ดู Latin characters in Unicode
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรละติน (Latin alphabet) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อักษรโรมัน (Roman alphabet) เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร ที่มีต้นแบบมาจากอักษรละตินดั้งเดิม ซึ่งหยิบยืมมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง เริ่มนำไปใช้ในนครรัฐคิวมี (Cumae) ยุคกรีกโบราณ ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของอิตาลี (มังนาไกรกิอา) และถูกนำไปปรับใช้โดยชาวอิทรัสคัน (Etruscans) รวมถึงชาวโรมัน หลังจากนั้นต่อมามีชุดอักษรละตินหลากหลายตัวที่มีความแตกต่างกันในเรื่องของกราฟ การเรียบเรียงเสียง และคุณสมบัติออกเสียงที่ต่างไปจากอักษรละตินดั้งเดิม

อักษรละตินเป็นแม่แบบให้กับสัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet) อันเป็นอักษร 26 ตัวซึ่งแพร่หลายมากที่สุด ประกอบไปด้วย ISO อักษรละตินพื้นฐาน (ISO basic Latin alphabet) ที่เป็นอักษรรูปแบบเดียวกับอักษรอังกฤษ (English alphabet)

ชุดตัวอักษรละตินเป็นแม่แบบให้กับตัวอักษรจำนวนมากที่สุดของระบบการเขียนทั้งหมด[1] และยังเป็นระบบการเขียนที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายมากที่สุด อักษรละตินเป็นระบบอักษรซึ่งเป็นมาตรฐานในการเขียนให้กับหลายภาษาในยุโรปตะวันตกและยุโรปกลาง ส่วนใหญ่ในภูมิภาคทะเลทรายซาฮาราทางแอฟริกาตอนใต้ อเมริกา และโอเชียเนีย รวมถึงภาษาต่าง ๆ ที่กระจายไปตามส่วนต่าง ๆ ของโลก

ชื่อและที่มา

[แก้]

อักษรชุดนี้เรียกกันว่าอักษรละตินหรืออักษรโรมัน มีแหล่งกำเนิดมาจากนครรัฐโรมโบราณ (แม้ว่าตัวพิมพ์ใหญ่บางตัวจะมีต้นแบบมาจากอักษรกรีกก็ตาม) การทับศัพท์ด้วยอักษรชุดนี้มักเรียกกันว่า "การถอดเป็นอักษรโรมัน" ("romanization")[2][3] ในผังยูนิโคดใช้ชื่อว่า "Latin"[4] เช่นเดียวกันกับหลักขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO)[5]

ระบบตัวเลขในอักษรชุดนี้ใช้ระบบเลขโรมันรวมๆ แล้วเรียกว่าตัวเลขโรมัน ตัวเลข 1, 2, 3 ... เป็นตัวเลขอักษรละติน/โรมันซึ่งมีที่มาจากระบบเลขแบบฮินดู–อารบิก

ยูนิโคด

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งอ้างอิง

[แก้]
  1. Haarmann 2004, p. 96.
  2. "Search results | BSI Group". Bsigroup.com. สืบค้นเมื่อ 12 May 2014.[ลิงก์เสีย]
  3. "Romanisation_systems". Pcgn.org.uk. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 June 2014. สืบค้นเมื่อ 12 May 2014.
  4. "ISO 15924 – Code List in English". Unicode.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 May 2013. สืบค้นเมื่อ 22 July 2013.
  5. "Search – ISO". Iso.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2014. สืบค้นเมื่อ 12 May 2014.

แหล่งข้อมูล

[แก้]
  • Haarmann, Harald (2004). Geschichte der Schrift [History of Writing] (ภาษาเยอรมัน) (2nd ed.). München: C. H. Beck. ISBN 978-3-406-47998-4.



อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน