[go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นูเมทัล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: az:Nu metal
MerlLinkBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: repairing outdated link allmusic.com
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
}}
}}


'''นูเมทัล''' ({{Lang-en|Nu metal}}) หรือบางครั้งเรียกว่า '''new metal''' หรือ '''nü metal''' เป็น[[แนวเพลง]]ที่เกิดขึ้นในช่วงกลางยุคทศวรรษที่ 1990 เป็นแนวเพลงที่รวมอิทธิพลของ [[กรันจ์]]<ref name="allmusic">[http://www.allmusic.com/cg/amg.dll?p=amg&sql=77:2697 allmusic<!-- Bot generated title -->]</ref> และ [[อัลเทอร์เนทีฟเมทัล]] รวมเข้ากับ ดนตรี[[ฟังก์]] [[ฮิปฮอป]] และ [[เฮฟวี่เมทัล]] หลายแนวอย่าง [[แทรชเมทัล]] และ [[กรูฟเมทัล]]
'''นูเมทัล''' ({{Lang-en|Nu metal}}) หรือบางครั้งเรียกว่า '''new metal''' หรือ '''nü metal''' เป็น[[แนวเพลง]]ที่เกิดขึ้นในช่วงกลางยุคทศวรรษที่ 1990 เป็นแนวเพลงที่รวมอิทธิพลของ [[กรันจ์]]<ref name="allmusic">[http://www.allmusic.com/explore/style/alternative-metal-d2697 allmusic<!-- Bot generated title -->]</ref> และ [[อัลเทอร์เนทีฟเมทัล]] รวมเข้ากับ ดนตรี[[ฟังก์]] [[ฮิปฮอป]] และ [[เฮฟวี่เมทัล]] หลายแนวอย่าง [[แทรชเมทัล]] และ [[กรูฟเมทัล]]


นูเมทัล จะเน้นที่อารมณ์ จังหวะ ผิวสัมผัส มากกว่า เมโลดี้ของเพลง เพลงนิวเมทัลส่วนใหญ่จะใช้จังหวะ ลัดโน้ตของท่อน[[ริฟฟ์]] เล่นกับการ[[กีตาร์]]ที่มีการปรับเสียงให้ต่ำลง ให้ดูหม่นลง และเสียงที่หนาขึ้นมากกว่าเพลงทั่วไป
นูเมทัล จะเน้นที่อารมณ์ จังหวะ ผิวสัมผัส มากกว่า เมโลดี้ของเพลง เพลงนิวเมทัลส่วนใหญ่จะใช้จังหวะ ลัดโน้ตของท่อน[[ริฟฟ์]] เล่นกับการ[[กีตาร์]]ที่มีการปรับเสียงให้ต่ำลง ให้ดูหม่นลง และเสียงที่หนาขึ้นมากกว่าเพลงทั่วไป

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:16, 12 พฤศจิกายน 2553

นูเมทัล (อังกฤษ: Nu metal) หรือบางครั้งเรียกว่า new metal หรือ nü metal เป็นแนวเพลงที่เกิดขึ้นในช่วงกลางยุคทศวรรษที่ 1990 เป็นแนวเพลงที่รวมอิทธิพลของ กรันจ์[1] และ อัลเทอร์เนทีฟเมทัล รวมเข้ากับ ดนตรีฟังก์ ฮิปฮอป และ เฮฟวี่เมทัล หลายแนวอย่าง แทรชเมทัล และ กรูฟเมทัล

นูเมทัล จะเน้นที่อารมณ์ จังหวะ ผิวสัมผัส มากกว่า เมโลดี้ของเพลง เพลงนิวเมทัลส่วนใหญ่จะใช้จังหวะ ลัดโน้ตของท่อนริฟฟ์ เล่นกับการกีตาร์ที่มีการปรับเสียงให้ต่ำลง ให้ดูหม่นลง และเสียงที่หนาขึ้นมากกว่าเพลงทั่วไป

อ้างอิง

  1. allmusic