ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิหารท้าวจตุโลกบาล"
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560 |
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560 |
||
บรรทัด 13: | บรรทัด 13: | ||
}} |
}} |
||
'''วิหารท้าวจตุโลกบาล'''<ref name = thai /><!--ใช้คำว่า “วิหาร” แทน “โถง” และเลือกใช้คำแปล “ท้าวจตุโลกบาล” ตามวรรณกรรมภาษาไทยส่วนใหญ่ใช้ในการกล่าวถึงสิ่งนี้โดยเฉพาะ--> หรือ '''เทียนหวังเตี้ยน''' ({{zh|s=天王殿|t=|p=Tiānwángdiàn}}) เป็นองค์ประกอบในวัด[[ศาสนาพุทธแบบจีน|พุทธแบบจีน]] โดยเป็นวิหารสำคัญหลังแรกในเขต[[shanmen|ซานเหมิน]] โดยเป็นที่ประดิษฐานเทวรูปของสี่[[ท้าวจตุโลกบาล]]<ref name="cat">{{cite book |author= Zi Yan|title=Famous Temples in China|date=2012-08-01 |publisher=Time Publishing and Media Co., Ltd. |location=Beijing |pages= 27–28|isbn= 978-7-5461-3146-7}}</ref> ซึ่งประดิษฐานในลักษณะขนาบซ้ายและขวาของวิหาร สี่องค์นี้ประกอบด้วย [[ท้าวธตรฐ]] ({{zh|c=持國天王|p=|labels=no}}; ทรงเสื้อผ้าสีขาวและเกราะ ในมือถือ[[พิณ]]) ประจำทิศตะวันออก, [[ท้าววิรุฬหก]] ({{zh|c=增長天王|p=|labels=no}}; ทรงเสื้อผ้าสีน้ำเงิน ในมือถือดาบ) ประจำทิศใต้, [[ท้าววิรูปักษ์]] ({{zh|c=廣目天王|p=|labels=no}}; ทรงเสื้อผ้าสีแดง บนแขนมีมังกรพัน) ประจำทิศตะวันตก และ [[ท้าวเวสสุวรรณ]] ({{zh|c=多聞天王|p=|labels=no}}; ทรงเสื้อผ้าสีเขียว มือถือฉัตร) ประจำทิศเหนือ<ref>{{cite book |author=Wei Ran |title=Buddhist Buildings |date= 2012-06-01|publisher=China Architecture & Building Press |location= Beijing|isbn=9787112142880 }}</ref><ref>{{cite book |author=Han Xin |title= Well-Known Temples of China|date= 2006-04-01|publisher= The Eastern Publishing Co. Ltd|location= Shanghai|isbn=7506024772}}</ref> |
'''วิหารท้าวจตุโลกบาล''',<ref name = thai /><!--ใช้คำว่า “วิหาร” แทน “โถง” และเลือกใช้คำแปล “ท้าวจตุโลกบาล” ตามวรรณกรรมภาษาไทยส่วนใหญ่ใช้ในการกล่าวถึงสิ่งนี้โดยเฉพาะ--> '''วิหารเทพแห่งสวรรค์'''<ref>{{cite web|url=https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=35&chap=1&page=t35-1-infodetail05.html| title = สถาปัตยกรรมวัดจีน}}</ref> หรือ '''เทียนหวังเตี้ยน''' ({{zh|s=天王殿|t=|p=Tiānwángdiàn}}) เป็นองค์ประกอบในวัด[[ศาสนาพุทธแบบจีน|พุทธแบบจีน]] โดยเป็นวิหารสำคัญหลังแรกในเขต[[shanmen|ซานเหมิน]] โดยเป็นที่ประดิษฐานเทวรูปของสี่[[ท้าวจตุโลกบาล]]<ref name="cat">{{cite book |author= Zi Yan|title=Famous Temples in China|date=2012-08-01 |publisher=Time Publishing and Media Co., Ltd. |location=Beijing |pages= 27–28|isbn= 978-7-5461-3146-7}}</ref> ซึ่งประดิษฐานในลักษณะขนาบซ้ายและขวาของวิหาร สี่องค์นี้ประกอบด้วย [[ท้าวธตรฐ]] ({{zh|c=持國天王|p=|labels=no}}; ทรงเสื้อผ้าสีขาวและเกราะ ในมือถือ[[พิณ]]) ประจำทิศตะวันออก, [[ท้าววิรุฬหก]] ({{zh|c=增長天王|p=|labels=no}}; ทรงเสื้อผ้าสีน้ำเงิน ในมือถือดาบ) ประจำทิศใต้, [[ท้าววิรูปักษ์]] ({{zh|c=廣目天王|p=|labels=no}}; ทรงเสื้อผ้าสีแดง บนแขนมีมังกรพัน) ประจำทิศตะวันตก และ [[ท้าวเวสสุวรรณ]] ({{zh|c=多聞天王|p=|labels=no}}; ทรงเสื้อผ้าสีเขียว มือถือฉัตร) ประจำทิศเหนือ<ref>{{cite book |author=Wei Ran |title=Buddhist Buildings |date= 2012-06-01|publisher=China Architecture & Building Press |location= Beijing|isbn=9787112142880 }}</ref><ref>{{cite book |author=Han Xin |title= Well-Known Temples of China|date= 2006-04-01|publisher= The Eastern Publishing Co. Ltd|location= Shanghai|isbn=7506024772}}</ref> |
||
นอกจากท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่แล้ว ในวิหารมักประดิษฐาน[[พระศรีอริยเมตไตรย]]ตรงกลางวิหาร หันหน้าออกสู่ซานเหมิน หันหลังชนกับ[[พระเวทโพธิสัตว์]] ซึ่งหันหน้าออกสู่[[Mahavira Hall|พระอุโบสถ]]ทางเหนือ โดยองค์พระศรีอริยเมตไตรยนิยมสร้างด้วยพุทธลักษณะเป็นชายร่างท้วมซึ่งอาจสับสนกันกับ[[พระสังกัจจายน์]]<ref name = thai>{{cite web|url=https://readthecloud.co/mangkon-kamalawat-temple-leng-noi-yee/ |date=2020-01-23 |website = The Cloud|title = วัดเล่งเน่ยยี่: รับตรุษจีนด้วยการเยือนวัดศิลปกรรมแบบจีนตอนใต้ที่สร้างสมัยรัชกาลที่ 5 และพระราชทานชื่อไทยโดยรัชกาลที่ 6 | author = ธนภัทร์ ลิ้มหัสนัยกุล |access-date=2024-04-21}}</ref> |
นอกจากท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่แล้ว ในวิหารมักประดิษฐาน[[พระศรีอริยเมตไตรย]]ตรงกลางวิหาร หันหน้าออกสู่ซานเหมิน หันหลังชนกับ[[พระเวทโพธิสัตว์]] ซึ่งหันหน้าออกสู่[[Mahavira Hall|พระอุโบสถ]]ทางเหนือ โดยองค์พระศรีอริยเมตไตรยนิยมสร้างด้วยพุทธลักษณะเป็นชายร่างท้วมซึ่งอาจสับสนกันกับ[[พระสังกัจจายน์]]<ref name = thai>{{cite web|url=https://readthecloud.co/mangkon-kamalawat-temple-leng-noi-yee/ |date=2020-01-23 |website = The Cloud|title = วัดเล่งเน่ยยี่: รับตรุษจีนด้วยการเยือนวัดศิลปกรรมแบบจีนตอนใต้ที่สร้างสมัยรัชกาลที่ 5 และพระราชทานชื่อไทยโดยรัชกาลที่ 6 | author = ธนภัทร์ ลิ้มหัสนัยกุล |access-date=2024-04-21}}</ref> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:03, 22 เมษายน 2567
วิหารท้าวจตุโลกบาล | |||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 天王殿 | ||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 天王殿 | ||||||
ความหมายตามตัวอักษร | โถงสี่ราชาสวรรค์ | ||||||
| |||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||
ฮันกึล | 천왕문 | ||||||
ฮันจา | 天王門 | ||||||
ความหมายตามตัวอักษร | ประตูสี่ราชาสวรรค์ |
วิหารท้าวจตุโลกบาล,[1] วิหารเทพแห่งสวรรค์[2] หรือ เทียนหวังเตี้ยน (จีน: 天王殿; พินอิน: Tiānwángdiàn) เป็นองค์ประกอบในวัดพุทธแบบจีน โดยเป็นวิหารสำคัญหลังแรกในเขตซานเหมิน โดยเป็นที่ประดิษฐานเทวรูปของสี่ท้าวจตุโลกบาล[3] ซึ่งประดิษฐานในลักษณะขนาบซ้ายและขวาของวิหาร สี่องค์นี้ประกอบด้วย ท้าวธตรฐ (持國天王; ทรงเสื้อผ้าสีขาวและเกราะ ในมือถือพิณ) ประจำทิศตะวันออก, ท้าววิรุฬหก (增長天王; ทรงเสื้อผ้าสีน้ำเงิน ในมือถือดาบ) ประจำทิศใต้, ท้าววิรูปักษ์ (廣目天王; ทรงเสื้อผ้าสีแดง บนแขนมีมังกรพัน) ประจำทิศตะวันตก และ ท้าวเวสสุวรรณ (多聞天王; ทรงเสื้อผ้าสีเขียว มือถือฉัตร) ประจำทิศเหนือ[4][5]
นอกจากท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่แล้ว ในวิหารมักประดิษฐานพระศรีอริยเมตไตรยตรงกลางวิหาร หันหน้าออกสู่ซานเหมิน หันหลังชนกับพระเวทโพธิสัตว์ ซึ่งหันหน้าออกสู่พระอุโบสถทางเหนือ โดยองค์พระศรีอริยเมตไตรยนิยมสร้างด้วยพุทธลักษณะเป็นชายร่างท้วมซึ่งอาจสับสนกันกับพระสังกัจจายน์[1]
อ้างอิง
- ↑ 1.0 1.1 ธนภัทร์ ลิ้มหัสนัยกุล (2020-01-23). "วัดเล่งเน่ยยี่: รับตรุษจีนด้วยการเยือนวัดศิลปกรรมแบบจีนตอนใต้ที่สร้างสมัยรัชกาลที่ 5 และพระราชทานชื่อไทยโดยรัชกาลที่ 6". The Cloud. สืบค้นเมื่อ 2024-04-21.
- ↑ "สถาปัตยกรรมวัดจีน".
- ↑ Zi Yan (2012-08-01). Famous Temples in China. Beijing: Time Publishing and Media Co., Ltd. pp. 27–28. ISBN 978-7-5461-3146-7.
- ↑ Wei Ran (2012-06-01). Buddhist Buildings. Beijing: China Architecture & Building Press. ISBN 9787112142880.
- ↑ Han Xin (2006-04-01). Well-Known Temples of China. Shanghai: The Eastern Publishing Co. Ltd. ISBN 7506024772.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Wang Guixiang (2016-06-17). 《中国汉传佛教建筑史——佛寺的建造、分布与寺院格局、建筑类型及其变迁》 [The History of Chinese Buddhist Temples] (ภาษาจีน). Beijing: Tsinghua University Press. ISBN 9787302427056.
- Zhang Yuhuan (2014-06-01). 《图解中国佛教建筑、寺院系列》 (ภาษาจีน). Beijing: Contemporary China Publishing House. ISBN 9787515401188.